การประชุมระดับชาติเพศวิถีศึกษา ครั้งที่ 2

เพศวิถีศึกษา กับ เพศวิถีปฏิบัติ ในสังคมไทย 
(Sexuality: Knowledge and Practices in Thai Society)

วันที่ 25-27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552  สถานที่ ห้องภาณุรังษี โรงแรมเดอะรอยัลริเวอร์  กรุงเทพมหานคร

ส่วนที่ 1: จุดประกาย

ชื่อบทความ ผู้เขียน
การขับเคลื่อนเพศวิถีศึกษากับเพศวิถีปฏิบัติในสังคมไทย กฤตยา อาชวนิจกุล และพงศ์ธร จันทร์เลื่อน
เพศวิถีมีชีวิต....การเปลี่ยนแปลงจากภายใน กิตติพันธ์ กันจินะ และสุชาดา ทวีสิทธิ์

ส่วนที่ 2: เพศวิถีกับรัฐ

ชื่อบทความ ผู้เขียน
มโนทัศน์เรื่องเมียในกฎหมายไทย: การศึกษาจากกฎหมายก่อน พ.ศ. 2478 อิรภัทร สุริยพันธุ์
ผู้หญิงไทยชนชั้นกลางกับเรื่องเพศนอกการแต่งงาน: การให้ความหมายและการต่อรองกับกรอบเพศที่ชอบธรรมของสังคม ปลินดา ระมิงค์วงศ์
การรับรองสิทธิขั้นพื้นฐานแก่ปัจเจกชนบนพื้นฐานของความหลากหลายทางเพศ วราภรณ์ อินทนนท์
สิทธิความหลากหลายทางเพศคือสิทธิมนุษยชน สิทธิพันธ์ บุญญาภิสมภาร

ส่วนที่ 3: เรื่องเพศพิศวาส (Erotic) และความรื่นรมย

ชื่อบทความ ผู้เขียน
สังวาสในพระไตรปิฎก: หฤหรรษ์และพรหมจรรย์ พุทธิสาโร
“กามารมณ์” ของผู้หญิงไทย: จากวรรณกรรมสู่แคมฟร็อก พิมพวัลย์ บุญมงคล
ไม่มั่วแต่ทั่วถึง: เซ็กแฟนตาซีของเกย์ไทยยุค 2000 นฤพนธ์ ด้วงวิเศษ
ชีวิตผู้ชายขายน้ำ กีรติกานต์ เตชาวัฒนากูล

ส่วนที่ 4: เพศวิถีกับสื่อ

ชื่อบทความ ผู้เขียน
ภาพของแฟนบอลสาวสวยกับความเป็นหญิงและความเป็นชายในสังคมไทย พิสิษฐิกุล แก้วงาม
คืนบาปพรหมพิราม: ภาพสะท้อนมายาคติเรื่องการข่มขืนในสังคมไทย ชาลินี สนพลาย
เสรีภาพเสรีเพศ: การเมืองเรื่องเพศภาวะของสื่อ เธียรชัย อิศรเดช
โต้คลื่นกระแสความนิยมเกาหลี: วันเดอร์เกย์เป็นความภูมิใจหรือความอับอายแห่งชาติ ธีรเดช ประมวลกลาง

ส่วนที่ 5: เพศวิถีกับอำนาจและความรุนแรงในชีวิตประจำวัน

ชื่อบทความ ผู้เขียน
ความรุนแรงเชิงบรรทัดฐาน ความเป็นการเมือง เรื่องพื้นที่ และอัตลักษณ์ของชายขายบริการอิสระในเมืองเชียงใหม่ พงศ์ธร จันทร์เลื่อน
ผู้หญิงกับความรุนแรง: กรณีศึกษาผ่านวรรณกรรมกอทิกไทยร่วมสมัย วีรี เกวกุล
ผู้หญิงมอแกลนบทเส้นทางการก้าวข้ามต่อปัญหาความรุนแรง พิศราภรณ์ อุปมา
เมื่อฉันโดนข่มขืน: ความรุนแรงทางเพศมากกว่าการเยียวยาทางกฎหมาย ฐิติญานันท์ หนักป้อ
บทความจากภาคปฏิบัติสู่กระบวนการเรียนรู้ การสร้างเครือข่ายในชุมชนเพื่อป้องกันแก้ไขปัญหาความรุนแรงต่อผู้หญิง ช่อทิพย์ ชัยชาญ

ส่วนที่ 6: เพศวิถีท้องถิ่น เพศวิถีเมือง และเพศวิถีข้ามพรมแดน

ชื่อบทความ ผู้เขียน
นอนใต้ละอองดาว: การร่วมรักของมนุษย์เพื่อแสวงหาตัวตนที่สูญหาย กฤษฎา ขำยัง
เพศสัมพันธ์ในสตรีมุสลิมวัยทองในชุมชนชนบทแห่งหนึ่งของภาคใต้ วรัญญา จิตรบรรทัด
การสร้างความเป็นหญิงในสังคมชาติพันธุ์: กรณีศึกษากลุ่มชาติพันธุ์ม้งในประเทศไทย กัลยา จุฬารัฐกร
เพศภาวะ และเพศวิถี ข้ามวัฒนธรรม กรณีศึกษาการย้ายถิ่นและการแต่งงานข้ามวัฒนธรรมของผู้หญิงไทยกับสามีชาวตะวันตกในสังคมปัจจุบัน ปณิธี สุขสมบูรณ์

ส่วนที่ 7: ประสบการณ์จากคนทำงานเรื่องเพศวิถี

ชื่อบทความ ผู้เขียน
หญิงรักหญิงในสังคมไทย ภาษา ตัวตน และอัตลักษณ์ทางเพศ กานต์ กานต์พรรณพงศ์
กฎหมายอุ้มบุญทางแพร่งที่ต้องเลือกเดิน ชาญณรงค์ วงค์วิชัย
เสียงของกะเทยป่าตอง เปรมปรีดา ปราโมช ณ อยุธยา
เส้นทางเอชไอวีของวิถีทางเพศ สมชาย พรหมสมบัติ
ความเชื่อและความเข้าใจเรื่องเพศวิถีของผู้ชายติดเชื้อในสังคมไทย อภิชัย ไมอักรี
คุยเรื่องเพศเพื่อการเปลี่ยนแปลง มีนา ดวงราศี
สถานการณ์ปัญหาด้านสุขภาวะทางเพศของหญิงข้ามเพศในประเทศไทย นาดา ไชยจิตต์

ส่วนที่ 8: เพศวิถีของคนโสดและเยาวชน

ชื่อบทความ ผู้เขียน
เห็นแล้วอยากมีลูกไหม?: เพศศึกษาในระบบการศึกษาไทย ธวัชชัย พาชื่น
รักอย่างไรที่วัยรุ่นต้องการ แววรุ้ง สุบงกฎ
กล้าเลือกกล้ารับผิดชอบ การเปลี่ยนแปลงที่เรียบง่าย ตอน ทุกคนเสี่ยงถ้ามีพฤติกรรมเสี่ยงในการรับเชื้อ HIV/AIDS และอยู่ในช่วงเปราะบางของชีวิต อุไรรัตน์ หน้าใหญ่

ส่วนที่ 9: เวทีเสวนา

ชื่อบทความ

ทิศทางการแก้ไขกฎหมายการคุกคามทางเพศ

จัดโดย ภาคีความร่วมมือในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ด้านเพศภาวะ เพศวิถีและสุขภาพ (Consortium)
ผู้เสวนา นัยนา สุภาพึ่ง และสิทธิพันธ์ บุญญาภิสมภาร
ดำเนินรายการโดย สุชาดา ทวีสิทธิ์

ผลสะเทือนจากการทำงานเรื่องเพศวิถี

จัดโดย มูลนิธิสร้างความเข้าใจเรื่องสุขภาพผู้หญิง (สคส.)
ผู้เสวนา วรานุช ชินวงโสภาค, ณัฐยา บุญภักดี และอุไรรัตน์ หน้าใหญ่
ดำเนินรายการโดย กฤตยา อาชวนิจกุล

สื่อเพื่อความรื่นรมย์ทางเพศ

จัดโดย องค์กรแพธ (PATH )ภาคีความร่วมมือในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ด้านเพศภาวะ เพศวิถี และสุขภาพ (Consortium) กลุ่มเพื่อนพนักงานบริการ (SWING)
ผู้เสวนา นิวัต กองเพียร, ธัญสก พันสิทธิวรกุล และฉันทลักษณ์ รักษาอยู่
ดำเนินรายการโดย อุษาสินี ริ้วทอง